วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2553

ขอแนะนำบ้านเกิดผมละกัน

























ประวัติศาสตร์เมืองน่าน เริ่มปรากฏขึ้นราว พ.ศ. 1825 ภายใต้การนำของพญาภูคา ศูนย์การปกครองอยู่ที่เมืองย่าง (เชื่อกันว่าคือบริเวณริมฝั่งด้านใต้ ของแม่น้ำย่าง ใกล้เทือกเขาดอยภูคาในเขตบ้านเสี้ยว ตำบลยม อำเภอท่าวังผา) เพราะปรากฏร่องรอย ชุมชนในสภาพที่เป็นคูน้ำ คันดิน กำแพงเมืองซ้อน กันอยู่ ต่อมาพระยาภูคา ได้ขยายอาณาเขตปกครองของตนออกไปให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยส่งราชบุตรบุญธรรม 2 คน ไปสร้างเมืองใหม่ โดย ขุนนุ่น ผู้พี่ไปสร้างเมืองจันทบุรี (เมืองพระบาง) และ ขุนฟองผู้น้องสร้างเมืองวรนครหรือเมืองปัว
ภายหลังขุนฟองถึงแก่พิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนราชบุตรจึงได้ขึ้นครองเมืองปัวแทน ด้านพญาภูคาครองเมืองย่างมานาน และมีอายุมากขึ้น มีความประสงค์จะให้เจ้าเก้าเถื่อนผู้หลานมาครองเมืองย่างแทน จึงให้เสนาอำมาตย์ไปเชิญ เจ้าเก้าเถื่อนเกรงใจปู่จึงยอมไปอย ู่เมืองย่างและมอบให้ชายา คือนางพญาแม่ท้าวคำปินดูแลรักษาเมืองปัวแทน เมื่อพญาภูคาถึงแก่พิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนจึงครองเมืองย่างแทน
ในช่วงที่เมืองปัวว่างจากผู้นำ เนื่องจากเจ้าเก้าเถื่อนไปครองเมืองย่างแทนปู่คือพญาภูคา พญางำเมืองเจ้าผู้ ครองเมืองพะเยา จึงได้ขยายอิทธิพลเข้าครอบครอง บ้านเมืองในเขตเมืองน่านทั้งหมด นางพญาแม่เท้าคำปิน พร้อมด้วยบุตรในครรภ์ ได้หลบหนีไปอยู่บ้านห้วยแร้ง จนคลอดได้บุตรชายชื่อว่าเจ้าขุนใส เติบใหญ่ได้เป็นขุนนาง รับใช้พญาคำเมืองจนเป็นที่โปรดปราน พญางำเมืองจึงสถาปนาให้เป็น เจ้าขุนใสยศ ครองเมืองปราดภายหลังมีกำลังพลมากขึ้นจึงยกทัพ มาต่อสู้จนหลุดพ้นจากอำนาจเมืองพะเยา และได้รับการสถาปนาเป็นพญาผานอง ขึ้นครองเมือง ปัวอย่างอิสระระหว่างปี 1865 – 1894 รวม 30 ปี จึงพิราลัยในสมัยของพญาการเมือง (กรานเมือง) โอรสของพญาผานอง เมืองปัว ได้มีการขยายตัวมากขึ้น ตลอดจนมีความสัมพันธ์ กับเมืองสุโขทัยอย่างใกล้ชิด พงศาวดารเมืองน่านกล่าวถึงพญาการเมืองว่า ได้รับเชิญจากเจ้าเมืองสุโขทัย (พระมหาธรรมราชาลิไท) ไปร่วมสร้างวัดหลวงอภัย (วัดอัมพวนาราม) ขากลับเจ้าเมืองสุโขทัย ได้พระราชทานพระธาตุ 7 องค์ พระพิมพ์ทองคำ 20 องค์ พระพิมพ์เงิน 20 องค์ ให้กับพญาการเมือง มาบูชา ณ เมืองปัวด้วย
พญาการเมือง ได้ปรึกษาพระมหาเถรธรรมบาล จึงได้ก่อสร้างพระธาตุแช่แห้งขึ้นที่บนภูเพียงแช่แห้ง พร้อมทั้งได้อพยพผู้คนจากเมืองปัว ลงมาสร้างเมืองใหม่ที่บริเวณพระธาตุแช่แห้ง เรียกว่า ภูเพียงแช่แห้งในปี พ.ศ. 1902 โดยมีพระธาตุแช่แห้งเป็นศูนย์กลางเมือง
หลังจากพญาการเมืองถึงแก่พิราลัย โอรสคือ พญาผากองขึ้นครองแทนอยู่มาเกิดปัญหาความแห้งแล้ง จึงย้ายเมืองมาสร้างใหม่ที่ริมแม่น้ำน่านด้านตะวันตกบริเวณบ้านห้วยไค้ คือบริเวณที่ตั้งของจังหวัดน่านในปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 1911
ในสมัยเจ้าปู่เข่งครองเมืองระหว่างปี พ.ศ. 1950 – 1960 ได้สร้างวัดพระธาตุช้างค้ำ วรวิหาร วัดพระธาตุเขาน้อย วัดพญาภู แต่สร้างไม่ทันเสร็จก็ถึงแก่พิราลัยเสียก่อนพญางั่วฬารผาสุมผู้เป็นหลานได้ สร้างต่อจนแล้วเสร็จและได้สร้าง พระพุทธรูปทองคำปางลีลา ปัจจุบันคือ พระพุทธนันทบุรีศรีศากยมุนี ประดิษฐานอยู่ในวิหารวัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร
ในปี พ.ศ. 1993 พระเจ้าติโลกราชกษัตริษ์นครเชียงใหม่ มีความประสงค์จะครอบครองเมืองน่าน และแหล่งเกลือ บ่อมาง (ต.บ่อเกลือใต้ อ.บ่อเกลือ) ที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์และหาได้ยากทางภาคเหนือ จึงได้จัดกองทัพเข้ายึด เมืองน่าน พญาอินต๊ะแก่นท้าว ไม่อาจต้านทาน ได้จึงอพยพหนีไปอาศัยอยู่ ที่เมืองเชลียง (ศรีสัชนาลัย) เมืองน่านจึงถูกผนวกเข้าไว้ในอาณาจักรล้านนาตั้งแต่นั้นมา
ตลอดระยะเวลาเกือบ 100 ปี ที่เมืองน่านอยู่ในครอบครองของ อาณาจักรล้านนา ได้ค่อย ๆ ซึมชับเอาศิลปวัฒนธรรมของล้านนา มาไว้ในวิถีชีวิต โดยเฉพาะการรับเอาศิลปกรรมทางด้านศาสนา ปรากฏศิลปกรรมแบบล้านนาเข้ามาแทนที่ศิลปกรรมแบบสุโขทัย อย่างชัดเจน ดังเช่น เจดีย์วัดพระธาตุแช่แห้ง เจดีย์วัดสวนตาล เจดีย์วัดพระธาตุช้างค้ำ แม้จะเหลือส่วนฐานที่มีช้างล้อมรอบ ซึ่งเป็นลักษณะศิลปะแบบสุโขทัยอยู่ แต่ส่วนองค์เจดีย์ขึ้นไปถึงส่วนยอดเปลี่ยนเป็นศิลปกรรมแบบล้านนาไปจนหมดสิ้น
ในระหว่างปี พ.ศ. 2103 – 2328 เมืองน่านได้ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า อยู่หลายครั้งและต้องเป็นเมืองร้าง ไร้ผู้คนถึง 2 ครา คือ ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2247 – 2249 ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ 2321 – 2344
ปี พ.ศ. 2331 เจ้าอัตถวรปัญโญ ได้ลงมาเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 เพื่อขอเป็น ข้าขอบขันทสีมา เจ้าอัตถวรปัญโญ หลังจากขึ้นครองเมืองน่านยังมิได้เข้าไปอยู่เมืองน่านเสียทีเดียว เนื่องจากเมืองน่าน ยังรกร้างอยู่ ได้ย้ายไปอาศัยอยู่ตามที่ต่างๆ คือ บ้านตึ๊ดบุญเรือง เมืองงั้ว (บริเวณอำเภอนาน้อย) เมืองพ้อ (บริเวณอำเภอเวียงสา) หลังจากได้บูรณะซ่อมแซมเมืองน่านแล้ว พร้อมทั้งได้ขอพระบรมราชานุญาตกลับเข้ามาอยู่ในเมืองน่าน ในปี พ.ศ. 2344 ในยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์เมืองน่านมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราช เจ้าผู้ครองนครน่านในชั้นหลังทุกองค์ ต่างปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความเที่ยงธรรมมีความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี ได้ช่วยราชการบ้านเมืองสำคัญหลายครั้งหลายคราด้วยกัน นอกจากนี้เจ้าผู้ครองนครน่าน ต่างได้ทำนุบำรุงกิจการพุทธศาสนาในเมืองน่าน และอุปถัมภ์ค้ำจูนพระพุทธศาสนาเป็นสำคัญ ได้สร้างธรรมนิทานชาดก การจารพระไตรปิฎกลงในคัมภีร์ใบลาน นับเป็นคัมภีร์ได้ 335 คัมภีร ์นับเป็นผูกได้ 2,606 ผูก ได้นำไปมอบให้ เมืองต่างๆ มีเมืองลำปาง เมืองลำพูน เมืองเชียงใหม่ เมืองเชียงราย และเมืองหลางพระบาง
ในปี พ.ศ. 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ เลือนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น “พระเจ้านครน่าน” มีพระนามปรากฏตามสุพรรณปัฏว่า “พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุรมหาราชวงศา ธิบดี สุริตจารีราชนุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิ์กิติไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย์ ณ นันทราชวงษ์” เป็นพระเจ้านครน่านองค์แรก และองค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน
ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าน่าน พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ จึงได้สร้าง หอคำ (คุ้มหลวง) ขึ้นแทนหลังเดิมซึ่งสร้างในสมัยของ เจ้าอนันตวรฤิทธิเดชฯ และด้านหน้าหอคำ มีข่วงไว้ทำหน้าที่คล้ายสนามหลวง สำหรับจัดงานพิธีต่างๆ ตลอดจนเป็นที่จัดขบวนทัพออกสู้ศึก จัดขบวนนำเสด็จหรือขบวนรักแขกเมืองสำคัญ
และในปี พ.ศ. 2474 เจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน ถึงแก่พิราลัย ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครก็ถูกยุบเลิกตั้งแต่นั้นมา ส่วนหอคำได้ใช้เป็น ศาลากลางจังหวัดน่าน จนปี พ.ศ. 2511 จังหวัดน่าน ได้มอบหอคำให้กรมศิลปากร ใช้เป็นสถานที่จัดตั้ง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน จนกระทั่งปัจจุบัน











































แผนที่ท่องเที่ยวเมืองน่าน








ขออนุญาติเอาบทความนี้มาละกันครับ








น่าน อาจจะเป็นจังหวัดที่หลายคนคิดว่าไกล และไม่มีจุดขายเหมือนเชียงใหม่ เชียงราย ปาย หรือ แม่ฮ่องสอนแต่สิ่งหนึ่งที่ น่าน ยังมีอยู่ครบถ้วน ก็คือ วิถีชีวิตอันเรียบง่ายของผู้คนและความเงียบสงบ ที่การท่องเที่ยวกำลังพรากทั้งสองสิ่งนี้ ไปจากชีวิตของคนท้องถิ่นในหลายพื้นที่แม้น่านจะขาดแสงสียามค่ำ หรือห้างสรรพสินค้าใหญ่โตเหมือนเมืองใหญ่ ๆแต่บางครั้ง สิ่งที่เราต้องการก็ไม่ได้มีอะไรมากไปกว่า การนั่งดูม่านหมอกห่มยอดดอยในตอนเช้าเงียบ ๆ ไม่ใช่หรือ ?เพราะ ชีวิตไม่ได้ต้องการแต่ ความสนุก เพียงอย่างเดียวและที่น่าน.....ความสนุก กับ ความสงบ ไปด้วยกันได้อย่างไม่ขัดเขิน










"นิตยสารยูงทอง"
































































































































วันเสาร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

การสร้างแบบจำลองทางภูมิศาสตร์ใน Google Earth

ติดตั้งและเริ่มต้น Google SketchUp เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการทำงานสูงสุด โปรดตรวจสอบว่า SketchUp ทำงานอยู่ก่อนเริ่มต้นใช้ Google Earth มิฉะนั้นแล้ว SketchUp อาจทำงานช้า
ติดตั้ง Google Earth และเปิดภูมิประเทศด้วยการเลือกช่องทำเครื่องหมาย Terrain เมื่อใช้ Google Earth กับโมเดล SketchUp แบบ 3 มิติ เราขอแนะนำเคล็ดลับต่อไปนี้:
ตั้งค่าการขยายการประเมิน Google Earth ให้เท่ากับ "1" มิฉะนั้น ในที่สุดแล้ว การประเมินโมเดล SketchUp อาจไม่ถูกต้อง ใน Google Earth: "Tools" ?"Options" ?"View" ?"Rendering" ?"Elevation Exaggeration" = 1
ตั้งค่าพื้นที่สำหรับดูของ Google Earth ให้เป็นขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งจะช่วยปรับปรุงความชัดเจนของรูปภาพภูมิประเทศที่คุณนำเข้ามายัง SketchUp ใน Google Earth ให้คลิก "Tools" ?"Options" ?"View" ?"Detail Area" = "Medium" หรือ "Large"
ใน Google Earth ข้ามไปใกล้กับตำแหน่งที่คุณต้องการวางโมเดล
ใน SketchUp ให้คลิกปุ่ม "Get Current View" เพื่อถ่ายภาพภูมิประเทศที่ปรากฏใน Google Earth ปุ่มนี้มีลักษณะเหมือนกับไอคอน Google Earth ที่มีลูกศรสีเหลืองชี้ไปทางขวา
ใน SketchUp ให้สร้างโมเดลบนรูปภาพ หากภูมิประเทศที่ตำแหน่งของคุณเป็นพื้นที่ลาดชัด โปรดเพิ่มฐานไปยังโมเดลเพื่อให้โมเดลสามารถตั้งอยู่ในพื้นที่ลาดได้เมื่อคุณใช้ภูมิประเทศ แม้ว่าภูมิประเทศจะเป็นสีเมื่อเห็นใน Google Earth แต่รูปภาพใน SketchUp จะเป็นภาพขาวดำ รูปภาพนี้มีไว้สำหรับการจัดวางตำแหน่งเท่านั้น เมื่อคุณวางโมเดลของคุณใน Google Earth โมเดลจะปรากฏในภูมิประเทศที่เป็นสีจริง นอกจากนี้ คุณยังสามารถดาวน์โหลดโมเดลจาก 3D Warehouse เพื่อใช้ในโมเดลของคุณ
ใน SketchUp ให้คลิกที่ปุ่ม "Toggle Terrain" เพื่อดูรูปภาพ 3 มิติ ขณะนี้ คุณจะเห็นพื้นที่ลาดในภูมิประเทศของคุณ และโมเดลของคุณอาจจมอยู่หรืออยู่ใต้พื้นที่นั้น หรืออาจลอยอยู่เหนือพื้นที่ ใน SketchUp ภูมิประเทศจะถูกนำเข้ามาเป็นรูปภาพสองแบบ คือ รูปภาพแบบแบน (2 มิติ) และรูปภาพที่แสดงความโค้ง (3 มิติ) ความจริงแล้ว โปรแกรมจะแสดงรูปภาพ 2 มิติ และจะซ่อนรูปภาพ 3 มิติ คุณสามารถสลับระหว่างรูปภาพสองแบบนี้ ด้วยการคลิกที่ปุ่ม "Toggle Terrain" ซึ่งมีลักษณะเหมือนพื้นที่สี่เหลี่ยมสองแห่ง คือ แบบแบนหนึ่งแห่งและแบบแสดงความโค้งหนึ่งแห่ง
ใน SketchUp ให้ใช้เครื่องมือย้ายเพื่อยกหรือลดระดับโมเดลเพื่อวางโมเดลในภูมิประเทศอย่างถูกต้อง ในการล็อคการย้ายไปทิศทางสีน้ำเงิน (ขึ้น/ลง) ให้กดปุ่มลูกศรขึ้นหรือลง หากคุณย้ายโมเดลขึ้นหรือลงลำบาก (ซึ่งจะย้ายได้ทีละข้างเท่านั้น) อาจเป็นเพราะคุณวางองค์ประกอบไว้ด้านนอกอาคารที่คุณสร้างโมเดล เช่น พุ่มไม้ และองค์ประกอบนั้นติดอยู่กับภูมิประเทศแบบ 2 มิติ เมื่อต้องการแก้ไข ให้คลิกขวาที่องค์ประกอบ แล้วคลิกที่ "Unglue"
ใน SketchUp ให้หมุนเพื่อที่คุณจะสามารถมองลงมาดูโมเดลของคุณที่อยู่บนภูมิประเทศได้
ใน SketchUp ให้คลิกปุ่ม "Place Model" ซึ่งมีลักษณะเหมือนไอคอน Google Earth ที่มีลูกศรสีส้มชี้ไปทางซ้าย
ใน Google Earth ให้ดูโมเดลของคุณที่ตำแหน่งที่คุณถ่ายภาพไว้ เมื่อคุณวางโมเดลใน Google Earth จาก SketchUp คุณจะสามารถมองเห็นได้เพียงคนเดียวเท่านั้น หากคุณต้องการแลกเปลี่ยนโมเดลกับผู้ใช้อื่น คุณต้องวางโมเดลใน 3D Warehouse
หากคุณต้องการแลกเปลี่ยนโมเดล คุณสามารถอัปโหลดเป็น 3D Warehouse สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยว


http://sketchup.google.com/support/bin/answer.py?hl=th&answer=36241

ข้อแตกต่างSketchup Pro7 กับ Pro6

Sketchup Pro7 กับ Pro6 มีข้อแตกต่างกันเรื่องของฟังก์ชั่นที่เพิ่มเข้ามา ดังนี้1. Dynamic Component ยึดขยายวัตถุโดยไม่เสียรูปทรงและใส่รายละเอียดเข้าไปได้2. ลากเส้นตัดผ่านกัน ในเวอร์ชั้น 6 ลักษณะพื้นที่จะไม่ถูกแบ่งออก แต่ในเวอร์ชั้น7 สามารถพื้นที่สามารถแบ่งออกเป็นส่วนๆได้ครับ3. นับจำนวนวัตถุ คิดราคาออกมาเป็นไฟล์ Excel หรือ Html เพื่อทำใบเสนอราคา4. คำสั่งด้านกราฟฟิก Interact เช่นเปิดประตูเพื่อเดินเข้าไปในบ้าน เปลี่ยนสีรถ เป็นต้นโดยรวมจะมีการปรับการแสดงผลภาพให้ดีขึ้นแต่ลักษณะหน้าตายังคงไม่ได้ปรับเปลี่ยนมากนัก

วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

คาโต







แบบฝึกหัด






วันพุธที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2553

ความรู้ในบทเรียนคาโต


ลองทำเล่นๆๆ

ดูคับ


ยากเหมือนกัน

วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2553

ความรู้ในบทเรียน

การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Georeferencing) เป็นการกำหนดจุดบังคับภาคพื้นดิน (Ground Control
Point - GCP) ให้กับข้อมูลที่ยังไม่มีค่าพิกัดนั้น เพื่อแปลงเป็นข้อมูลที่มีค่าพิกัดอ้างอิง อาทิเช่น ข้อมูลที่ได้จากการกราดภาพ
(Scan), ภาพถ่ายดาวเทียม, ภาพถ่ายทางอากาศ และรูปภาพแผนที่ เป็นต้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ถ้าไม่มีค่าพิกัดอ้างอิง
ก็เป็นเพียงภาพกราฟิกธรรมดา นอกจากนี้การปฏิบัติงานทางด้านภูมิสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ระยะไกลนั้น จะดำเนินงานบนพื้นฐานของข้อมูลที่มีพิกัดอ้างอิงเท่านั้น
การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ มีหลักการเบื้องต้น ดังนี้
1. จุดบังคับภาคพื้นดิน (GCP) ที่กำหนด จะต้องเป็นตำแหน่งเดียวกันกับที่ปรากฏทั้งในข้อมูลที่ไม่มี
ค่าพิกัดและข้อมูลอ้างอิง
2. กำหนดจุดบังคับภาคพื้นดิน ณ ตำแหน่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่บ่อยนัก เช่น จุดตัดถนน, จุดตัด
ระหว่างถนนกับทางรถไฟ เป็นต้น
3. กำหนดจุดบังคับภาคพื้นดินอย่างน้อย 4 จุด
4. กำหนดจุดบังคับภาคพื้นดินให้กระจายทั่วพื้นที่ของข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัด
เนื่องจากข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัดและข้อมูลอ้างอิง (ข้อมูลมีค่าพิกัด) มีหลายประเภท ดังนั้นการกำหนดจุดพิกัด
อ้างอิงจึงมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของข้อมูลที่นำมาใช้อ้างอิง โดยมีวิธีการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์อยู่
3 ลักษณะ ดังนี้
1. การกำหนดจุดพิกัดโดยอ้างอิงกับข้อมูลที่มีค่าพิกัดอยู่แล้ว (Add GCP from a Reference Object)
2. การกำหนดจุดพิกัดโดยพิมพ์ค่าพิกัดเข้าไปโดยตรง (Enter Known Coordinates)
3. การกำหนดจุดพิกัดโดยให้โปรแกรม TNTmips ทำการคำนวณค่าพิกัดให้ (Simple Georeference)
ข้อมูลไม่มีค่าพิกัด
(ข้อมูลนำเข้า)
กำหนดGCP
(ข้อมูลอ้างอิง)
ข้อมูลมีค่าพิกัด
=
+
Page 4
4
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
การเข้าสู่คำสั่งกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์
การเข้าสู่คำสั่งกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์นั้น ไม่ว่าจะเป็นวิธีการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงในลักษณะใดก็-
ตาม จะมีขั้นตอนปฏิบัติที่เหมือนกัน เพียงแต่แตกต่างกันในขั้นตอนกำหนดรายละเอียดปลีกย่อยของแต่ละวิธีการนั้นๆ
มีขั้นตอนทำงานดังนี้
1. คลิกเมนูคำสั่ง Edit > Georeference...
2. หลังจากนั้นจะปรากฏกรอบภาพควบคุมการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง (Georeference) ซึ่งมีองค์ประกอบ
ของกรอบภาพที่สำคัญ ดังนี้
แถบเมนู (Menu Bar) เป็นรายการคำสั่งที่ใช้จัดการและควบคุมเกี่ยวกับการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
ประกอบด้วย
File
การควบคุมจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล
Model
การควบคุมสมการแบบจำลองการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
Setup
การกำหนดระบบพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์
Units
การกำหนดหน่วยวัดของการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
Options
การควบคุมค่าทางเลือกต่างๆ ที่ประกอบการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
Help
ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
เข้าสู่การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์
กรอบแสดงรายละเอียด
แถบเครื่องมือ
ตำแหน่งจุด GCP
ในข้อมูลนำเข้า
ตำแหน่งจุด GCP
ในข้อมูลอ้างอิง
รายการจุดบังคับ-
ภาคพื้นดิน
แถบเมนู
Page 5
5
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
แถบเครื่องมือ (Tool Bar) เป็นกลุ่มของปุ่มคำสั่งควบคุมกำหนดจุดบังคับภาคพื้นดิน โดยปุ่มต่างๆ บนแถบเครื่อง-
มือมีหน้าที่การใช้งาน ดังนี้
ปุ่ม
ชื่อปุ่ม
การใช้งาน
Apply
ยอมรับการกำหนดจุดบังคับภาคพื้นดิน
Find Selected Point ค้นหาจุดบังคับภาคพื้นดิน
Delete Control Point
ลบจุดบังคับภาคพื้นดิน
Mode Add
กำหนดทำงานเพิ่มจุดบังคับภาคพื้นดิน
Mode Edit
กำหนดทำงานแก้ไขจุดบังคับภาคพื้นดิน
Mode View
กำหนดทำงานแสดงจุดบังคับภาคพื้นดิน
รายการจุดบังคับภาคพื้นดิน (GCP List) แสดงจำนวนจุดบังคับภาคพื้นดินที่ทำการกำหนด
ตำแหน่งจุด GCP ในข้อมูลนำเข้า (Input Object) จะแสดงตำแหน่งของจุดบังคับภาคพื้นดินที่กำหนดบนข้อมูล-
นำเข้า (ไม่มีค่าพิกัด) ในลักษณะของแถว (Line) กับสดมภ์ (Column)
ตำแหน่งจุด GCP ในข้อมูลอ้างอิง (Reference Object) จะแสดงตำแหน่งของจุดบังคับภาคพื้นดินที่กำหนด-
บนข้อมูลอ้างอิง (มีค่าพิกัด) ในรูปแบบของค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ เช่น ระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ Lat/Long แสดงตำแหน่ง-
ในลักษณะของละติจูด (Latitude) กับลองจิจูด (Longitude) เป็นต้น
กรอบแสดงรายละเอียด (Text Area of GCP) ส่วนที่แสดงรายละเอียดต่างๆ ของจุดบังคับภาคพื้นดินในแต่ละ-
จุดที่ทำการกำหนดไว้
การกำหนดจุดพิกัดโดยอ้างอิงกับข้อมูลที่มีค่าพิกัดอยู่แล้ว
การกำหนดจุดพิกัดโดยอ้างอิงกับข้อมูลที่มีค่าพิกัดอยู่แล้ว (Adding GCP from a Reference Object) เป็นการ-
กำหนดค่าพิกัดในลักษณะของการกำหนดจุดบังคับควบคุม (Control Point) บนตำแหน่งเดียวกันทั้งในภาพข้อมูลนำเข้า
(Input Object) ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัด กับข้อมูลอ้างอิง (Reference Object) ที่เป็นข้อมูลที่มีค่าพิกัด
เพื่อแปลงข้อมูลนำเข้าที่ไม่มีค่าพิกัดนั้นให้มีค่าพิกัดเหมือนกับข้อมูลอ้างอิง
สำหรับการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงในหัวข้อนี้ จะกำหนดจุดพิกัดให้กับข้อมูลภาพสีผสมจริงของดาวเทียม LANDSAT
โดยใช้ข้อมูลถนนที่มีระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ UTM เป็นข้อมูลอ้างอิง มีขั้นตอนทำงานดังนี้
Page 6
6
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
1. เข้าสู่การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง (ดูหัวข้อ การเข้าสู่คำสั่งกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์)
2. คลิกเมนูคำสั่ง File > Open...
3. เมื่อปรากฏกรอบภาพเลือกข้อมูล (Select Object) ให้ทำการเลือกข้อมูลภาพสีผสมของข้อมูลดาวเทียม
LANDSAT ชื่อ COMP1 ที่อยู่ใน C:\Chonburi\Georef\CB_IMAGE.rvc (ดูหัวข้อ การเปิดแฟ้มข้อมูลที่มี
อยู่แล้ว)
เข้าสู่การเปิดข้อมูลที่จะ
กำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
ดับเบิลคลิกเลือกข้อมูลที่
ต้องการจะกำหนดจุดพิกัด
Page 7
7
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
4. เมื่อปรากฏกรอบภาพทางเลือกกำหนดค่าระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Georeferencing Options) ให้คลิกปุ่ม
5. เมื่อปรากฏกรอบภาพกำหนดค่าระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Coordinate System/Projection Parameters)
ให้กำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบเดียวกับข้อมูลที่ใช้อ้างอิง ณ ที่นี้ข้อมูลอ้างอิงมีระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ UTM
(ดูหัวข้อ การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์)
คำแนะนำ :ในทางเลือกของการกำหนดค่าระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ปุ่ม Input ใช้ในการกำหนด-
ระบบพิกัดสำหรับช่องพิมพ์ตำแหน่งการวางจุด GCP ของข้อมูลอ้างอิง, ปุ่ม View ใช้กำหนด-
ระบบพิกัดสำหรับจุด GCP ในรายการจุดบังคับภาคพื้นดินของกรอบภาพการกำหนดจุดพิกัด
และปุ่ม Output ใช้กำหนดระบบพิกัดให้กับข้อมูลผลลัพธ์ของการกำหนดจุดพิกัด
เทคนิคและทิป :ในการตั้งค่าระบบพิกัด ให้เลือกปุ่ม Set All เนื่องจากเป็นการตั้งค่าระบบ-
พิกัดภูมิศาสตร์เพียงครั้งเดียว ก็ครอบคลุมทั้ง Input, View, Output และในการตั้งค่าระบบพิกัด-
ภูมิศาสตร์ ควรตั้งค่าให้เป็นระบบเดียวกัน
เข้าสู่การตั้งค่าระบบพิกัด-
ภูมิศาสตร์ทั้งหมด
กำหนดค่าต่าง ๆ ของระบบ-
พิกัดภูมิศาสตร์แบบ UTM
Page 8
8
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
6. เมื่อกำหนดค่าต่างๆ ของระบบพิกัดภูมิศาสตร์แล้ว จะย้อนกลับมาที่กรอบภาพทางเลือกการกำหนดค่า
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ให้คลิกปุ่ม
โปรแกรมจะทำการนำข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัดที่เลือกมาไว้ในรายการชั้นข้อมูลของกรอบภาพควบคุมข้อมูลนำเข้า
(Georeference “Input” Layer Controls) ในการควบคุมข้อมูลนำเข้าที่ไม่มีค่าพิกัด และแสดงภาพข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัดในกรอบ-
ภาพแสดงข้อมูลนำเข้า (Object Georeferencing - Input Object View) สำหรับแสดงภาพข้อมูลนำเข้าที่ ไม่มีค่าพิกัด
ยอมรับการกำหนดค่า-
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์
ปรากฏภาพข้อมูลนำเข้าที่ไม่มีค่าพิกัด
ข้อมูลนำเข้าที่เลือกไว้จะปรากฏใน
กรอบภาพควบคุมข้อมูลนำเข้า
Page 9
9
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
7. คลิกเมนูคำสั่ง Options > Show Reference View (กดปุ่ม Show Reference View ให้บุ๋ม)
จะปรากฏกรอบภาพควบคุมข้อมูลอ้างอิง (Reference Layer Controls) ในการควบคุมข้อมูลอ้างอิงที่มีค่าพิกัด
และกรอบภาพแสดงข้อมูลอ้างอิง (Reference Object View) ในการแสดงภาพข้อมูลอ้างอิง
กรอบภาพควบคุมข้อมูลอ้างอิง
กรอบภาพแสดงข้อมูลอ้างอิง
เข้าสู่การเปิดกรอบภาพข้อมูลอ้างอิง
Page 10
10
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
8. คลิกปุ่ม (Add Layer (s)...) ในกรอบภาพควบคุมข้อมูลอ้างอิง
9. เมื่อปรากฏกรอบภาพการเลือกข้อมูล (Select Object) ให้ทำการเลือกข้อมูลถนน ชื่อ Road ที่อยู่ใน
C:\Chonburi\Georef\CB_Ref.rvc (ดูหัวข้อ การเปิดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้ว)
ข้อควรจำ :ข้อมูลอ้างอิง (Reference Object) จะเป็นข้อมูลประเภทใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับความ-
ต้องการและความสะดวกในการใช้งานของท่าน เพียงแต่ข้อมูลที่จะนำมาเป็นข้อมูลอ้างอิงนั้น
จะต้องเป็นข้อมูลที่มีค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์
เข้าสู่การเปิดแฟ้มข้อมูลอ้างอิง
แบบไม่คำนึงประเภทข้อมูล
ยอมรับการเลือกข้อมูล
ดับเบิลคลิกเลือกข้อมูลอ้างอิง
Page 11
11
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
โปรแกรมจะทำการนำข้อมูลอ้างอิงมาไว้ในรายการชั้นข้อมูลของกรอบภาพควบคุมข้อมูลอ้างอิง และแสดงภาพ-
ข้อมูลที่มีค่าพิกัดในกรอบภาพแสดงข้อมูลอ้างอิง
10. คลิกปุ่ม Add ให้บุ๋ม
ปรากฏภาพข้อมูลอ้างอิงที่มีพิกัด
ข้อมูลอ้างอิงที่เลือกไว้ จะปรากฏใน-
กรอบภาพควบคุมข้อมูลอ้างอิง
กำหนดเพิ่มจุดบังคับภาคพื้นดิน
Page 12
12
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
11. คลิกปุ่ม (Crosshair) ทั้งในกรอบภาพแสดงข้อมูลนำเข้า และกรอบภาพแสดงข้อมูลอ้างอิง ให้บุ๋ม
ข้อควรจำ : Crosshair หรือ เส้นโยงยึดวางจุด เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับโยงยึดวางจุด-
บังคับภาคพื้นดินที่ต้องการ
เทคนิคและทิป : ใช้ปุ่ม (Zoom Box) ทำการขยายภาพบริเวณกรอบที่ต้องการ เมื่อต้อง-
การขยายบริเวณที่จะวางจุดโยงยึดพิกัดเพื่อให้เห็นตำแหน่งที่จะวางจุดบังคับอย่างชัดเจน
โดยคลิกปุ่ม ให้บุ๋ม แล้วคลิกปุ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้ ทำการลากกรอบสี่เหลี่ยมบนภาพ-
ข้อมูลบริเวณที่ต้องการ
กำหนดใช้เครื่องมือวางจุดโยงยึด-
พิกัดในข้อมูลไม่มีค่าพิกัด
กำหนดใช้เครื่องมือวาง
จุดโยงยึดพิกัดในข้อมูลอ้างอิง
Page 13
13
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
12. เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการวางจุดบังคับภาคพื้นดิน
13. วางจุดบังคับภาพพื้นดินในข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัด โดยกดปุ่มซ้ายของเมาส์
ตำแหน่งที่จะวางจุดบังคับ
ภาคพื้นดินในกรอบภาพ
แสดงข้อมูลนำเข้า
เส้นโยงยึดวางจุด
เมื่อคลิกปุ่มซ้ายของเมาส์ เส้นโยงยึด-
วางจุด จะมาอยู่ ณ ตำแหน่งที่คลิก
Page 14
14
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
14. ที่กรอบภาพแสดงข้อมูลอ้างอิง เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตำแหน่งที่จะวางจุดบังคับภาคพื้นดิน (บริเวณเดียวกัน
กับตำแหน่งที่วางในข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัด)
15. วางจุดบังคับภาคพื้นดินในข้อมูลอ้างอิง โดยกดปุ่มซ้ายของเมาส์
ตำแหน่งที่จะวางจุดบังคับภาคพื้นดินใน-
กรอบหน้าต่างแสดงภาพข้อมูลอ้างอิง
เส้นโยงยึดวางจุด
เมื่อกดปุ่มซ้ายของเมาส์ เส้นโยงยึด
วางจุดจะมาอยู่ณ ตำแหน่งที่คลิก
Page 15
15
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
16. คลิกปุ่ม (Apply)
จะปรากฏหมายเลขของจุดบังคับภาคพื้นดินที่ยอมรับการวางตำแหน่ง ทั้งในกรอบภาพแสดงข้อมูลนำเข้า
และกรอบภาพแสดงข้อมูลอ้างอิง รวมทั้งปรากฏจำนวนจุดบังคับภาคพื้นดินที่วางไว้ในกรอบภาพควบคุมกำหนดค่าพิกัด
ยอมรับการวางจุดบังคับภาคพื้นดิน
แสดงตำแหน่งจุดบังคับ
ภาคพื้นดินบนข้อมูลนำเข้า
แสดงตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดินบนข้อมูลอ้างอิง
ปรากฏจุดบังคับภาคพื้นดินที่ได้วางไว้
ปรากฏหมายเลขของจุดบังคับ-
ภาคพื้นดินที่ยอมรับการวาง
Page 16
16
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
17. ทำการวางจุดบังคับภาคพื้นดินเพิ่มอีกอย่างน้อย 3 จุดบังคับ ทั้ง 2 กรอบภาพ (ดูขั้นตอนที่ 10 ถึง 16)
ภายหลังจากทำการวางจุดบังคับภาคพื้นดินให้กับข้อมูลนำเข้าที่ไม่มีค่าพิกัดแล้ว ถ้าจุดบังคับภาคพื้นดินที่เพิ่มนั้น
มีตำแหน่งไม่ถูกต้อง ซึ่งพิจารณาจากค่าความคลาดเคลื่อนของตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดิน (Residual) โดยการ
ตรวจสอบความถูกต้องของการวางจุดบังคับภาคพื้นดินนั้น มีหลักการพิจารณาเกี่ยวกับค่า Residual ดังนี้
วางจุดบังคับภาคพื้นดินเพิ่มอีกอย่างน้อย 3 จุด
จุดบังคับภาคพื้นดินใหม่จะ-
ปรากฏตามจำนวนการวางจุด
Page 17
17
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
ถ้ามีค่า Residual เกิดขึ้น แสดงว่า จุดบังคับภาคพื้นดินที่วางไว้นั้นไม่พอดีกับจุดบังคับภาคพื้นดินของ-
แบบจำลองที่โปรแกรมได้ทำนายไว้
ถ้าค่า Residual ของจุดบังคับภาคพื้นดินใด มีค่ามากกว่าขนาดของจุดภาพ (Cell size) ต้องทำการ-
แก้ไขจุดบังคับภาคพื้นดินนั้นใหม่ เพื่อให้มีค่า Residual น้อยกว่าขนาดจุดภาพ หรือมีค่าใกล้เคียง 0.00 มากที่สุด
ดังนั้น หากมีค่าความคลาดเคลื่อนของตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดินเกิดขึ้น ต้องปรับลดค่าความคลาดเคลื่อนนั้น-
ให้น้อยลง โดยมีรูปแบบให้เลือกใช้ 3 ลักษณะ ดังนี้
การเลือกแบบจำลองคำนวณใส่ค่าพิกัด
18. คลิกเมนูคำสั่ง Model > เลือกแบบจำลองที่ต้องการ (ตัวอย่างเช่น Plane Projective)
ค่าความคลาดเคลื่อนของแต่ละ-
ตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดิน
กำหนดเลือกแบบจำลอง
คำนวณการกำหนดจุดพิกัด
Page 18
18
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
19. ผลจากการเลือกแบบจำลองคำนวณการกำหนดจุดพิกัด จะปรากฏค่าความคลาดเคลื่อนของตำแหน่ง
จุดบังคับภาคพื้นดินในแต่ละจุดที่เปลี่ยนแปลงไป
ข้อควรจำ : จะเลือกใช้แบบจำลองคำนวณการกำหนดจุดพิกัดในรูปแบบใด ขึ้นอยู่กับจำนวน-
จุดบังคับภาคพื้นดินที่ทำการวางและความบิดเบี้ยวของข้อมูล โดยสมการแต่ละแบบจำลองต้อง-
การจำนวนจุดบังคับภาคพื้นดินที่แตกต่างกัน กล่าวคือ สมการ Affine ใช้จุดอย่างน้อย 3 จุด, Plane
Projective ใช้จุดอย่างน้อย 4 จุด, Bilinear ใช้จุดอย่างน้อย 4 จุด, Order 2 Polynomial ใช้จุด-
อย่างน้อย 6 จุด, Order 3 Polynomial ใช้จุดอย่างน้อย 10 จุด, Order 4 Polynomial ใช้จุดอย่างน้อย
15 จุด, Order 5 Polynomial ใช้จุดอย่างน้อย 21 จุด, Order 6 Polynomial ใช้จุดอย่างน้อย 28 จุด
และ Piecwise Affine ใช้จุดอย่างน้อย 10 จุด
ค่าความคลาดเคลื่อนของตำแหน่ง
จุดบังคับภาคพื้นดินในแต่ละจุด
จะเปลี่ยนไป
ค่าความคลาดเคลื่อนจาก
การใช้แบบจำลอง Affine
ค่าความคลาดเคลื่อนจากการ-
ใช้แบบจำลอง Plane Projective
ค่าความคลาดเคลื่อนจาก-
การใช้แบบจำลอง Bilinear
เปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนของตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดินจากแบบจำลองต่าง ๆ
Page 19
19
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
การแก้ไขตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดินใหม่
20. คลิกปุ่ม Edit ให้บุ๋ม
21. คลิกจุดบังคับภาคพื้นดินที่อยู่ในรายการจุดบังคับภาคพื้นดิน ให้เป็นแถบสว่าง
กำหนดแก้ไขจุดบังคับภาคพื้นดิน
กำหนดเลือกจุดบังคับภาคพื้นดินที่
ต้องการแก้ไข (มีค่าความคลาดเคลื่อนสูง)
เมื่อทำการแก้ไขจุดบังคับภาคพื้นดิน
ปุ่มบนแถบเครื่องมือนี้จะทำงานได้
Page 20
20
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
22. ทำการวางจุดบังคับภาคพื้นดินที่ต้องการแก้ไขใหม่ (ดูขั้นตอน 11 ถึง 16)
คลิกปุ่ม (Crosshair) บนกรอบภาพแสดงข้อมูลนำเข้าและกรอบภาพแสดงข้อมูลอ้างอิง ให้บุ๋ม
คลิกภาพบริเวณที่มีลักษณะเหมือนกันทั้ง 2 กรอบภาพใหม่
คลิกปุ่ม (Apply)
กำหนดใช้ Crosshair วางจุดบังคับภาคพื้นดินใหม่ บริเวณตำแหน่งที่เหมือนกัน ทั้ง 2 กรอบภาพ
ยอมรับการแก้ไข
จุดบังคับภาคพื้น-
ดินใหม่
ตำแหน่งจุดบังคับ
ภาคพื้นดินจะ
เปลี่ยนไป
ค่าความคลาดเคลื่อน-
จะเปลี่ยนไป
Page 21
21
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
การลบจุดบังคับภาคพื้นดิน
23. คลิกปุ่ม Edit ให้บุ๋ม
24. คลิกจุดบังคับภาคพื้นดินที่อยู่ในรายการจุดบังคับ ให้เป็นแถบสว่าง
25. คลิกปุ่ม (Delete Control Point)
คำแนะนำ :เมื่อปรับค่าความคลาดเคลื่อนของตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดินที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะ-
ใช้วิธีใดก็ตาม ต้องกลับมาตรวจสอบดูค่าความคลาดเคลื่อนที่แก้ไขนั้นว่าลดลงหรือไม่
ถ้าค่าไม่ลดลงตามเกณฑ์กำหนดต้องทำการปรับแก้ใหม่
กำหนดเลือกจุดบังคับ
ภาคพื้นดินที่ต้องการลบ
(มีค่าความคลาดเคลื่อน
สูงมากๆ)
กำหนดแก้ไขจุดบังคับภาคพื้นดิน
ลบจุดบังคับภาคพื้นดิน
Page 22
22
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
26. เมื่อดำเนินการวางหรือแก้ไขจุดบังคับภาคพื้นดินในการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต้อง
บันทึกการวางจุดบังคับภาคพื้นดินนั้นเก็บไว้เพื่อนำไปใช้ในการปรับความถูกต้องทางเรขาคณิตของข้อมูลต่อไป ให้คลิกเมนู
คำสั่ง File > Save
27. เมื่อปรากฏกรอบภาพบันทึกผลลัพธ์การวางจุดบังคับภาคพื้นดิน (New Object) ให้กำหนดชื่อผลลัพธ์
ของค่าจุดบังคับภาคพื้นดินในช่องพิมพ์ Name
28. คลิกปุ่ม
โปรแกรมจะบันทึกการวางจุดบังคับภาคพื้นดินเก็บไว้ภายในข้อมูลที่ทำการกำหนดจุดพิกัดนั้น
คำแนะนำ :ในการกำหนดชื่อสำหรับบันทึกผลลัพธ์ของการวางจุดบังคับภาคพื้นดิน ควรจะ-
กำหนดชื่อตามระบบพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ของการวางจุดบังคับนั้น
เข้าสู่การบันทึกการวางจุด-
บังคับภาคพื้นดิน
กำหนดชื่อผลลัพธ์เก็บค่า-
จุดบังคับภาคพื้นดิน
ยอมรับการบันทึก
Page 23
23
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
29. ถ้าต้องการออกจากการทำงานกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ ให้คลิกเมนูคำสั่ง File > Exit
โปรแกรมจะทำการออกจากการทำงานกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ โดยปิดกรอบภาพที่เกี่ยวข้องกับ
การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทั้งหมด
การกำหนดจุดพิกัดโดยพิมพ์ค่าพิกัดเข้าไปโดยตรง
การกำหนดจุดพิกัดโดยพิมพ์ค่าพิกัดเข้าไปโดยตรง (Enter Known Coordinates) เป็นการกำหนดค่าพิกัดในลักษณะ-
ของการกำหนดจุดบังคับภาคพื้นดิน (Control Point) บนตำแหน่งภาพข้อมูลนำเข้า (Input Object) ที่ไม่มีค่าพิกัด และทำการ-
พิมพ์ค่าพิกัดที่ทราบ (อาจจะอ่านค่าพิกัดจากแผนที่ หรือได้ค่าพิกัดจากเครื่องมือรับสัญญาณดาวเทียม GPS
ระหว่างการสำรวจภาคสนาม) ลงบนตำแหน่งที่วางไว้ในข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัด เพื่อแปลงให้ข้อมูลนั้นมีค่าพิกัดขึ้น
สำหรับการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงในหัวข้อนี้ จะกำหนดจุดพิกัดให้กับภาพแผนที่ภูมิประเทศที่ได้จากการกราดภาพ
(Scan) โดยพิมพ์ค่าพิกัดอ้างอิงในระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบละติจูด/ลองจิจูด มีขั้นตอนทำงานดังนี้
คำแนะนำ :ถ้าออกจากการทำงานกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ โดยที่ยังไม่ได้บันทึก-
การวางจุดบังคับภาคพื้นดินนั้นเก็บไว้ โปรแกรมจะแสดงกรอบภาพแจ้งเตือนให้
ทำการบันทึกการวางจุดบังคับภาคพื้นดินก่อนจะออกจากการทำงาน
ออกจากการทำงาน
กำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
Page 24
24
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
1. เข้าสู่การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง (ดูหัวข้อ การเข้าสู่คำสั่งกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์)
2. คลิกเมนูคำสั่ง File > Open...
3. เมื่อปรากฏกรอบภาพการเลือกข้อมูล (Select Objects) ให้ทำการเลือกข้อมูลภาพแผนที่ ชื่อ Map_SCAN
ที่อยู่ใน C:\Chonburi\Georef\CB_IMAGE.rvc (ดูหัวข้อ การเปิดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้ว)
เข้าสู่การเปิดข้อมูล
ที่จะกำหนดจุดพิกัด
ดับเบิลคลิกเลือก
ข้อมูลที่ต้องการ
จะกำหนดจุดพิกัด
Page 25
25
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
4. เมื่อปรากฏกรอบภาพทางเลือกการกำหนดค่าระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Georeferencing Options) ให้คลิกปุ่ม
5. เมื่อปรากฏกรอบภาพกำหนดค่าระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Coordinate System/Projection Parameters)
ให้กำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบเดียวกันกับข้อมูลที่ใช้อ้างอิง ณ ที่นี้ อ่านค่าพิกัดที่มีระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ Lat/Long
(ดูหัวข้อ การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์)
6. ที่กรอบภาพทางเลือกการกำหนดค่าระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ให้คลิกปุ่ม
เข้าสู่การตั้งค่าระบบ
พิกัดภูมิศาสตร์ทั้งหมด
กำหนดค่าต่าง ๆ ของระบบพิกัด-
ภูมิศาสตร์แบบ Lat/Long
ยอมรับการกำหนดค่า-
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์
Page 26
26
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
7. เมื่อปรากฏกรอบหน้าต่างเตือนเกี่ยวกับการไม่สนับสนุนข้อมูลที่มีค่าลองจิจูดมากกว่า 180 องศา ให้
คลิกปุ่ม
โปรแกรมจะดำเนินการนำข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัดที่เลือกมาไว้ในรายการชั้นข้อมูลของกรอบภาพควบคุมข้อมูลนำเข้า
(Georeference “Input” Layer Controls) และแสดงภาพข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัดในกรอบภาพแสดงข้อมูลนำเข้า (Object
Georeference - Input Object View)
ยอมรับคำเตือน
ปรากฏภาพข้อมูลนำเข้าที่ไม่มีค่าพิกัด
ข้อมูลนำเข้าที่เลือกไว้จะปรากฏใน
กรอบภาพควบคุมข้อมูลนำเข้า
Page 27
27
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
8. คลิกปุ่ม Add ให้บุ๋ม
9. คลิกปุ่ม (Crosshair) ให้บุ๋ม
10. วางจุดบังคับภาคพื้นดินในข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัด โดยกดปุ่มซ้ายของเมาส์บนภาพ
กำหนดเพิ่มจุดบังคับภาคพื้นดิน
กำหนดใช้เครื่องมือ
กำหนดวางจุดโยงยึด
พิกัดในข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัด
เมื่อกดปุ่มซ้ายของเมาส์
เส้นโยงยึดวางจุดบังคับ
จะมาอยู่ ณ ตำแหน่งที่คลิก
Page 28
28
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
11. พิมพ์ค่าพิกัดของจุดบังคับภาคพื้นดินในช่องพิมพ์ค่าพิกัดแนว Latitude: และ Longitude:
12. คลิกปุ่ม (Apply)
ข้อควรจำ :ค่าพิกัดอ้างอิงในแนวลองจิจูดของระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ Lat/Long ที่ทำการ-
พิมพ์ต้องมีค่าไม่เกิน 180 องศา
พิมพ์ค่าพิกัดของจุดบังคับภาคพื้นดินที่ได้วางไว้
ยอมรับการวางจุด-
บังคับภาคพื้นดิน
ค่าพิกัดอ้างอิงที่พิมพ์เข้าไป
แสดงตำแหน่ง
จุดบังคับภาค
พื้นดินบน
ข้อมูลนำเข้า
Page 29
29
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
ปรากฏหมายเลขของจุดบังคับภาคพื้นดินที่ยอมรับการวางตำแหน่งในกรอบภาพแสดงข้อมูลนำเข้า และปรากฏ-
จำนวนจุดบังคับภาคพื้นดินที่วางไว้ในกรอบภาพควบคุมการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
13. ทำการวางจุดบังคับภาคพื้นดินและใส่ค่าพิกัดเพิ่มอีกอย่างน้อย 3 จุดบังคับ (ดูขั้นตอนที่ 9. ถึง 12.)
ปรากฏหมายเลขของจุดบังคับภาคพื้นดิน
ปรากฏจุดบังคับภาคพื้นดินที่ได้วางไว้
วางจุดบังคับภาคพื้นดินเพิ่มอีกอย่างน้อย 3 จุด
จุดบังคับภาคพื้นดินใหม่จะปรากฏ
ตามจำนวนการวางตำแหน่ง
Page 30
30
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
14. ถ้าจุดบังคับภาคพื้นดินที่ทำการวางนั้นมีตำแหน่งไม่ถูกต้อง ให้เปลี่ยนตำแหน่งจุดบังคับภาคพื้นดินใหม่
โดยคลิกปุ่ม Edit ให้บุ๋ม
15. คลิกจุดบังคับภาคพื้นดินที่อยู่ในรายการจุดบังคับภาคพื้นดิน ให้เป็นแถบสว่าง
กำหนดแก้ไขจุดบังคับภาคพื้นดิน
กำหนดเลือกจุดบังคับ
ภาคพื้นดินที่ต้องการแก้ไข
(มีค่าความคลาดเคลื่อนสูง)
Page 31
31
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
16. ทำการวางจุดบังคับภาคพื้นดินที่ต้องการแก้ไขใหม่ (ดูขั้นตอนที่ 9. ถึง 12.) โดย
คลิกปุ่ม (Crosshair) บนกรอบภาพแสดงข้อมูลนำเข้า ให้บุ๋ม
คลิกภาพบริเวณที่ทราบค่าพิกัดใหม่
พิมพ์ค่าพิกัด ณ ตำแหน่งที่เลือกใหม่ ในช่องพิมพ์ค่าพิกัดบนกรอบภาพควบคุมกำหนดค่าพิกัด
คลิกปุ่ม (Apply)
ใช้ Crosshair วางจุดบังคับภาคพื้นดินใหม่
และพิมพ์ค่าพิกัดที่ทราบค่าใหม่
ยอมรับการเปลี่ยนตำแหน่งจุดบังคับใหม่
ค่าความคลาดเคลื่อนจะเปลี่ยนไป
Page 32
32
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
17. คลิกเมนูคำสั่ง File > Save
18. กำหนดชื่อผลลัพธ์ของค่าจุดบังคับภาคพื้นดินในช่องพิมพ์ Name และคลิกปุ่ม
19. คลิกเมนูคำสั่ง File > Exit
เข้าสู่การบันทึกการวาง
จุดบังคับภาคพื้นดิน
กำหนดชื่อผลลัพธ์ของการวางจุดบังคับ
ออกจากการทำงาน
กำหนดจุดพิกัด
Page 33
33
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
การกำหนดจุดพิกัดโดยให้โปรแกรม TNTmips ทำการคำนวณค่าพิกัดให้
การกำหนดจุดพิกัดโดยให้โปรแกรม TNTmips ทำการคำนวณค่าพิกัดให้ (Simple Georeference) เป็นการกำหนด-
ค่าพิกัดในลักษณะกำหนดปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนำเข้าที่ไม่มีค่าพิกัด แล้วให้โปรแกรมทำการคำนวณค่าพิกัดให้กับข้อมูล-
นำเข้า ซึ่งองค์ประกอบของข้อมูลนำเข้าที่ควรทราบในการให้โปรแกรม TNTmipsคำนวณ ประกอบด้วย
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Coordinate System)
ขนาดจุดภาพของข้อมูล (Cell Size)
ตำแหน่งจุดอ้างอิง (Reference Point)
ค่าพิกัดของตำแหน่งจุดอ้างอิง (Coordinate of Reference Point)
ข้อมูลที่นิยมใช้กำหนดจุดพิกัดอ้างอิงแบบให้โปรแกรม TNTmips ทำการคำนวณพิกัดให้นั้น ได้แก่ ข้อมูล
ภาพถ่ายดาวเทียมที่อยู่ในรูปสื่อข้อมูลเชิงตัวเลข ซึ่งเป็นข้อมูลปฐมภูมิที่ยังไม่ผ่านการกำหนดค่าพิกัด โดยปกติข้อมูล
ต้นฉบับจะมีรายละเอียดของการถ่ายภาพในแต่ละเฟรม ประกอบด้วย ตำแหน่งค่าพิกัดของจุดอ้างอิง 5 ตำแหน่ง (จุดมุมบน-
ซ้าย, จุดมุมบนขวา, จุดมุมล่างซ้าย, จุดมุมล่างขวา และจุดตรงกลางภาพ) ขนาดจุดภาพของข้อมูล, ชนิดของข้อมูล
และระบบพิกัดของการถ่ายภาพ เป็นต้น
การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงในหัวข้อนี้ จะทำการคำนวณค่าพิกัดให้กับข้อมูลดาวเทียม LANDSAT ระบบ MSS
ช่วงคลื่นที่ 4 ซึ่งมีองค์ประกอบของการคำนวณ คือ ระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ UTM , ใช้จุดมุมบนซ้ายของข้อมูลเป็นจุดอ้าง-
อิงที่มีค่าพิกัด 897388.66 ในแนว Northing และค่าพิกัด 417340.23 ในแนว Easting รวมทั้งข้อมูลมีขนาด จุดภาพ 60 เมตร
มีขั้นตอนทำงานดังนี้
1. เข้าสู่การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง (ดูหัวข้อ การเข้าสู่คำสั่งกำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์)
2. คลิกเมนูคำสั่ง File > Make Simple...
เข้าสู่การกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง
แบบให้โปรแกรมคำนวณ
Page 34
34
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
3. เมื่อปรากฏกรอบภาพกำหนดปัจจัยในการสร้างค่าพิกัดอ้างอิงอย่างง่าย (Create Simple Raster
Georeference) ให้คลิกปุ่ม
4. เมื่อปรากฏกรอบภาพกำหนดค่าระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Coordinate System/Projection Parameters)
ให้กำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ UTM ที่มีโซนข้อมูล 47 องศาเหนือ และใช้หมุดหลักฐาน Indian 1975
(ดูหัวข้อ การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์)
เข้าสู่การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์
กำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์ของการคำนวณแบบ UTM
Page 35
35
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
5. คลิกเลือก Upper Left ที่ส่วนกำหนด Reference Point:
6. กำหนดค่าพิกัดของตำแหน่งจุดอ้างอิง โดย
พิมพ์ “1505607.33” ในช่องพิมพ์ Northing:
พิมพ์ “688990.93” ในช่องพิมพ์ Easting:
กำหนดจุดมุมบนซ้ายเป็นตำแหน่งจุดอ้างอิง
พิมพ์ค่าพิกัดของตำแหน่งจุดอ้างอิงใน-
แนว Northing และ Easting
Page 36
36
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
7. กำหนดขนาดจุดภาพของข้อมูลเป็น 60 เมตร โดย
พิมพ์ “30” ในช่องพิมพ์ Line:
พิมพ์ “30” ในช่องพิมพ์ Column:
8. คลิกปุ่ม
พิมพ์ขนาดจุดภาพของข้อมูล
ในแนว Line และ Column
สั่งให้โปรแกรมคำนวณค่าพิกัดให้
Page 37
37
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
9. เมื่อปรากฏกรอบภาพการเลือกข้อมูล (Select Object) ให้ทำการเลือกข้อมูลภาพระดับสีเทาของข้อมูล
ดาวเทียม LANDSAT ชื่อ Landsat_B4 ที่อยู่ใน C:\Chonburi\Georef\CB_IMAGE.rvc (ดูหัวข้อ การเปิด
แฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้ว)
หลังจากนั้น โปรแกรมจะดำเนินการคำนวณค่าพิกัดให้กับข้อมูลที่เลือกไว้
10. คลิกปุ่ม
ข้อควรจำ :ข้อมูลสำหรับการกำหนดจุดพิกัดโดยให้โปรแกรม TNTmips ทำการคำนวณค่า-
พิกัด ต้องเป็นข้อมูลเชิงภาพ (Raster) เพียงอย่างเดียวและไม่สามารถคำนวณค่าพิกัดให้กับ-
ข้อมูลเชิงเส้น (Vector) ได้
ออกจากการทำงานคำนวณค่าพิกัด
แสดงสถานะข้อความว่าข้อมูล
ถูกคำนวณค่าพิกัดแล้ว
ดับเบิลคลิกเลือกข้อมูลที่จะให้
โปรแกรมคำนวณค่าพิกัด
Page 38
38
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
11. คลิกเมนูคำสั่ง File > Exit
การปรับแก้เชิงเรขาคณิต
การดำเนินงานหลังจากที่ได้กำหนดจุดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ให้กับข้อมูลที่ไม่มีค่าพิกัดเรียบร้อยแล้ว จะเป็นการ-
ปรับแก้เชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) ให้กับข้อมูลที่ผ่านการกำหนดจุดพิกัด เนื่องจากข้อมูลที่ผ่านการกำหนดจุด-
พิกัดอ้างอิง เป็นเพียงการกำหนดจุดบังคับภาคพื้นดินให้กับข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลนั้นมีความถูกต้องทางด้านทิศทางอย่างเดียว-
เท่านั้น แต่ยังไม่ได้ขจัดความเพี้ยนเชิงเรขาคณิตของข้อมูล อาทิเช่น ความโค้งของโลกที่ปรากฏบนข้อมูล, ความคลาดเคลื่อน-
จากการยกตัวของภูมิประเทศ และความผิดพลาดจากการกวาดภาพ เป็นต้น
การปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเชิงภาพ
การปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเชิงภาพนั้น เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัดของข้อมูล
เชิงภาพกับระบบพิกัดภูมิศาสตร์ โดยอาศัยจุดบังคับภาคพื้นดินช่วยในการปรับแก้ กล่าวคือ จะทำการตรึงข้อมูล
เชิงภาพที่ไม่มีค่าพิกัด ให้มีค่าพิกัดที่ถูกต้องตามพิกัดของจุดบังคับภาคพื้นดิน แล้วใช้สมการของการปรับแก้เชิงเรขาคณิตช่วย-
ปรับแก้ความเพี้ยนของข้อมูลภาพ โปรแกรมจะทำการจัดข้อมูลใหม่ เพื่อให้มีความถูกต้องทั้งทางด้านทิศทางและพื้นที่
การปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเชิงภาพ มีอยู่ 3 ลักษณะ ดังนี้
1. Nearest Neighbor (ตำแหน่งที่ใกล้ที่สุด) เป็นการจัดข้อมูลใหม่ โดยอาศัยตำแหน่งจุดภาพต้นฉบับที่อยู่ใกล้ที่-
สุด วิธีนี้ไม่มีการปรับแก้ค่าจุดภาพของข้อมูลต้นฉบับ จึงเหมาะกับข้อมูลต้นฉบับที่ไม่มีความบิดเบี้ยว
2. Bilinear Interpolation (แบบเชิงเส้นคู่) เป็นการจัดข้อมูลใหม่ โดยอาศัยค่าเฉลี่ยของจุดภาพต้นฉบับ 4 ช่อง
กริดภาพที่อยู่ล้อมรอบ วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลต้นฉบับที่มีความโค้งงอไม่มาก
ออกจากการทำงานกำหนดจุดพิกัด
Page 39
39
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
3. Cubic Convolution (แบบเชิงลูกบาศก์) เป็นการจัดข้อมูลใหม่ โดยอาศัยค่าเฉลี่ยของจุดภาพต้นฉบับ 16 ช่อง
กริดภาพที่อยู่ล้อมรอบ วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลต้นฉบับที่มีความบิดเบี้ยวของข้อมูลมาก ๆ
การปรับแก้เชิงเรขาคณิตในหัวข้อนี้ เป็นการปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับภาพสีผสมของข้อมูลดาวเทียม LANDSAT
ที่ผ่านการกำหนดจุดพิกัดอ้างอิง โดยมีการกำหนดค่าผลลัพธ์ของระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ UTM, ขนาด
จุดภาพ 60 เมตร และใช้สมการการจัดข้อมูลใหม่แบบ Nearest Neighbor มีขั้นตอนทำงานดังนี้
1. คลิกเมนูคำสั่ง Process > Raster > Resample > Automatic...
แนวคิดการจัดข้อมูลใหม่สำหรับการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
จุดภาพของข้อมูลต้นฉบับที่ถูก-
ใช้ในแต่ละสมการของการจัด-
ข้อมูลใหม่ สำหรับแต่ละจุดภาพ-
ของผลลัพธ์การปรับแก้
ผลลัพธ์มีการปรับ-
แก้ไขความถูกต้อง
ข้อมูลภาพต้นฉบับมีความบิดเบี้ยว
เข้าสู่การปรับแก้เชิงเรขาคณิต
ให้กับข้อมูลเชิงภาพ
Page 40
40
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
2. เมื่อปรากฏกรอบภาพกำหนดปัจจัยปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเชิงภาพ (Raster Resampling-
Automatic via Georeference) ให้คลิกปุ่ม
3. ทำการเลือกข้อมูลภาพสีผสมดาวเทียม LANDSAT ชื่อ COMP2 ที่อยู่ใน C:\Chonburi\Georef \CB_GEO.rvc
(ดูหัวข้อ การเปิดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้ว)
เข้าสู่การเปิดแฟ้มข้อมูล
ที่จะปรับแก้เชิงเรขาคณิต
ดับเบิลคลิกเลือกข้อมูลที่ต้องการ
ปรับแก้เชิงเรขาคณิต
Page 41
41
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
4. กำหนดขนาดจุดภาพของผลลัพธ์การปรับแก้เชิงเรขาคณิต โดย
พิมพ์ “30” ที่ช่องพิมพ์ Line ที่ส่วนกำหนด Output Cell Size
พิมพ์ “30” ที่ช่องพิมพ์ Column ที่ส่วนกำหนด Output Cell Size
5. คลิกเมนูคำสั่ง Model > From Georeference
กำหนดขนาดจุดภาพตาม
รายละเอียดจุดภาพของข้อมูล
กำหนดใช้แบบจำลองการแปลงค่า
เชิงเรขาคณิตจากการใส่ค่าพิกัดอ้างอิง
Page 42
42
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
6. คลิกเมนูคำสั่ง Resample > Nearest Neighbor
7. คลิกปุ่ม
คำแนะนำ : ถ้าไม่ต้องการแปลงระบบพิกัดของข้อมูลให้เป็นระบบพิกัดใหม่ ก็ไม่ต้อง
คลิกปุ่ม
กำหนดการจัดข้อมูลใหม่
แบบตำแหน่งที่ใกล้ที่สุด
เข้าสู่การกำหนดระบบพิกัด-
ภูมิศาสตร์ของผลลัพธ์
Page 43
43
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
8. กำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์เป็นแบบ UTM ที่มีโซนข้อมูล 47 เหนือ และใช้หมุดหลักฐาน Indian 1975
(ดูหัวข้อ การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์)
9. คลิกเมนูคำสั่ง File > Run...
กำหนดค่าต่าง ๆ ของระบบพิกัดภูมิศาสตร์ใหม่
ยอมรับค่ากำหนดที่เลือก
สั่งดำเนินการปรับแก้
เชิงเรขาคณิต
Page 44
44
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
10. ทำการเก็บผลลัพธ์ของข้อมูลเชิงภาพที่ผ่านการปรับแก้เชิงเรขาคณิต ไว้ใน C:\Chonburi\Georef\CB_Data.rvc
(ดูหัวข้อ กำหนดชื่อ File และ Object)
11. เมื่อโปรแกรมจะทำการปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเสร็จสิ้นแล้ว ให้คลิกปุ่ม
12. คลิกเมนูคำสั่ง File > Exit
แสดงเวลาทั้งหมดของ
การปรับแก้เชิงเรขาคณิต
สร้างพื้นที่เก็บข้อมูลปรับแก้เชิงเรขาคณิต
ออกจากการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
ให้ข้อมูลเชิงภาพ
Page 45
45
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
การปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเชิงเส้น
การปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเชิงเส้น เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัดของข้อมูลเชิงเส้นกับ-
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ โดยอาศัยจุดบังคับภาคพื้นดินช่วยในการปรับแก้ ซึ่งจะทำการตรึงข้อมูลเชิงเส้นที่ไม่มีค่าพิกัด ให้มีค่า-
พิกัดที่ถูกต้องตามพิกัดของจุดบังคับภาคพื้นดิน แล้วใช้สมการของการปรับแก้เชิงเรขาคณิตช่วยปรับแก้ความเพี้ยนของข้อมูล-
เส้น ซึ่งจะมีการจัดข้อมูลใหม่ให้มีความถูกต้องทั้งด้านทิศทางและพื้นที่
การปรับแก้เชิงเรขาคณิตในหัวข้อนี้ เป็นการปรับแก้ข้อมูลเส้นทางน้ำ ที่มีระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ UTM ให้เป็น-
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบละติจูด/ลองจิจูด โดยใช้แบบจำลองของจุดพิกัดอ้างอิงช่วยในการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
มีขั้นตอนทำงานดังนี้
1. คลิกเมนูคำสั่ง Process > Vector > Warp...
2. เมื่อปรากฏกรอบภาพกำหนดปัจจัยปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลเชิงเส้น (Vector/CAD Warping
via Georeference) ให้คลิกปุ่ม
เข้าสู่การเปิดแฟ้มข้อมูลที่
จะปรับแก้เชิงเรขาคณิต
เข้าสู่การปรับแก้เชิงเรขาคณิต
ให้กับข้อมูลเชิงเส้น
Page 46
46
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
3. ทำการเลือกข้อมูลเส้นทางน้ำ ชื่อ Hydrology ที่อยู่ใน C:\Chonburi\Georef\CB_GEO.rvc (ดูหัวข้อ
การเปิดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้ว)
4. คลิกเลือก From Georeference ที่ส่วนกำหนด Model:
ดับเบิลคลิกเลือกข้อมูลเชิงเส้น
ที่ต้องการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
กำหนดใช้แบบจำลองการแปลงค่า
เชิงเรขาคณิตจากการใส่ค่าพิกัดอ้างอิง
Page 47
47
หมวดการกำหนดพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
หมวดที่
III
การปฎิบัติงานด้วยโปรแกรม
TNTmips
5. คลิกปุ่ม
6. กำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์เป็นแบบละติจูด/ลองจิจูด (ดูหัวข้อ การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์)
7. คลิกปุ่ม
กำหนดค่าต่างๆ ของระบบ-
พิกัดภูมิศาสตร์ใหม่
เข้าสู่การกำหนดระบบพิกัด
ภูมิศาสตร์ของผลลัพธ์การ
ปรับแก้เชิงเรขาคณิต
สั่งทำการปรับแก้
เชิงเรขาคณิต
Page 48
48
คู่มือระบบภูมิสารสนเทศ TNTmips
8. ทำการเก็บผลลัพธ์ของข้อมูลเชิงเส้นที่ผ่านการปรับแก้เชิงเรขาคณิต ไว้ใน C:\Chonburi\Georef\ CB_Data.rvc
(ดูหัวข้อ กำหนดชื่อ File และ Object)
9. โปรแกรมจะทำการปรับแก้เชิงเรขาคณิตให้กับข้อมูลไปเก็บไว้ตามที่ได้กำหนด ให้คลิกปุ่ม
10. คลิกปุ่ม
แสดงเวลาทั้งหมดของ-
การปรับแก้เชิงเรขาคณิต
สร้างพื้นที่เก็บข้อมูลปรับแก้เชิงเรขาคณิต
ออกจากการทำงานปรับแก้
เชิงเรขาคณิตให้ข้อมูลเชิงเส้น